สาขาวิชาวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และสื่อดิจิทัล
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

รายวิชาในหลักสูตร

รายวิชาตามโครงสร่างหมวดวิชาศึกษาทั่วไป มีการกําหนดรหัสวิชา ชื่อวิชา ในแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 12 หน่วยกิต บังคับเรียน 10 หน่วยกิต จากวิชา ดังต่อไปนี้

 2100101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 2(1-2-3)
Thai for Communication

 2100102 การพัฒนาทักษะการพูดและการเขียน 2(1-2-3)
 Speaking and Writing Skills Development
 * 2100117 ภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ 2(1-2-3)
 Thai for Careers 

2100104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและ
 พัฒนาการเรียนรูD 2(1-2-3)
English for Communication and
Learning Development

2100107 ภาษามลายูเพื่อการสื่อสาร 2(1-2-3)
 Malay for Communication
2100108 ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารและ

 พัฒนาการเรียนรูD 2(1-2-3)
Malay for Communication and
Learning Development

 * 2100115 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 2(1-2-3)
 English for Communication 1

หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาสําหรับนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า (โดยไม่ต้องเรียนวิชา 2100101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร และ 2100104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและพัฒนาการเรียนรู้) เลือกเรียน 2 หน่วยกิต
 จากวิชา ดังต่อไปนี้

2100103 หลักการอ่านและการเขียนคําไทย 2(2-0-4)
Principles of Reading and Writing Thai Words

2100105 การพัฒนาทักษะการพูดและ
การอBานภาษาอังกฤษ 2(1-2-3)
Development of Speaking and Reading
Skills in English

2100106 ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาการอ่านและ
การเขียน 2(1-2-3)
English for Reading and Writing Development

 2100116 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 2(1-2-3)
English for Communication 2

2100109 ภาษามลายูพื้นฐาน 2(1-2-3)
Basic Malay

2100110 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2(1-2-3)
Chinese for Communication

2100111 ภาษาอาหรับพื้นฐาน 2(1-2-3)
Basic Arabic 
 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร 6 หน่วยกิต

2100112 วิทยาการแห่งความสุข 2(1-2-3)
Happiness Study

2100113 สุนทรียวิจักขณ์ 2(2-0-4)
Aesthetics Approach

 2100114 สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2(1-2-3)
Information for Life Long Learning

 2100118 ความจริงของชีวิต 2(2-0-4)
 Truth of Life

 2100119 การพัฒนาตน 2(2-0-4)
 Self Development
 

2100120 สุนทรียภาพของชีวิต 2(1-2-3)
 Aesthetics for Life
 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร 6 หน่วยกิต

 2150101 สังคมภิวัตน์ 2(2-0-4)
Socialization

2150102 การจัดการทางสังคม 2(2-0-4)
 Social Management

2150103 ทักษะชีวิตและจิตสํานึกสาธารณะ 2(2-0-4)
Life Skills and Public Conscious Mind
 

2150108 ทักษะในการดําเนินชีวิต 2(1-2-3)
 Skills for Life

 2150109 ชีวิตและวัฒนธรรมไทย 2(1-2-3)
 Life and Thai Culture

กลุ่มวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 6 หน่วยกิต

4100101 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจําวัน 2(1-2-3)
Mathematics in Daily Life

4100102 วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 2(1-2-3)
Science for the Quality of Life Development

4100103 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจําวัน 2(1-2-3)
 Information Technology in Daily Life

 4100108 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจําวัน 2(1-2-3)
Science in Daily Life

 4100109 การกีฬาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 2(1-2-3)
Sports for the Quality of Life Development 

 2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น4อยกว่า 92 หน่วยกิต
 กลุ่มวิชาแกน 36 หน่วยกิต
 - เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต 3 หน่วยกิต

3100001 ภาษาไทยเพื่องานนิเทศศาสตร์
Thai for Communication Arts
3(3-0-6)

 - บังคับเรียน

3100106 การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานนิเทศศาสตร์
Personality Development for Communication Arts
3(2-2-5)

3100207 ศิลปะการใช้ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์
Language for Communication Arts
3(2-2-5)

3100208 ภาษาอังกฤษเพื่องานนิเทศศาสตร์
English for Communication Arts
3(3-0-6)

3101101 หลักนิเทศศาสตร์
Principles of Communication Arts
3(3-0-6)

3101102 การสื่อสารมวลชน
Mass Communication
3(3-0-6)

3101103 การสื่อสารเพื่อการพัฒนาชายแดนใต้*
Communication for Southern Border Development
3(2-2-5)

3101205 คอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่องานสื่อสาร
Computer Graphics for Communication
3(2-2-5)

3101306 กฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน
Law and Ethics of Mass Communication
3(3-0-6)

3102202 การสื่อข่าวและเขียนข่าว
News Reporting and Writing
3(2-2-5)

3103102 การประชาสัมพันธ์ในสังคมพหุวัฒนธรรม*
Public Relations in Multicultural Society
3(2-2-5)

3103408 การวิจัยนิเทศศาสตร์
Research for Communication Arts
3(2-2-5)

3106101 การถ่ายภาพเพื่อการสื่อสาร
Photography for Communication
3(2-2-5)

หมายเหตุ* หมายถึง วิชาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของหลักสูตร 
 กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
 - วิชาเอกบังคับ 30 หน่วยกิต

3104104 หลักการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงดิจิทัลและวิทยุโทรทัศน์ดิจิทัล
Principles of Digital Radio and Television Production
3(2-2-5)

3104206 การสื่อข่าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
Production of Radio and Television News Program
3(2-2-5)

3104207 การเขียนบทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
Script Writing for Broadcasting
3(3-0-6)

3104208 การพัฒนาความคิดสรDางสรรค์ในงานสื่อสารดิจิทัล
Creative Thinking in Digital Communication
3(2-2-5)

3104314 การตัดต่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ดิจิทัลเบื้องต้น
Basic Editing for Digital Broadcasting
3(2-2-5)

3104315 การเปKนผู้ประกาศและผู้บรรยายทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ *
Broadcasting Announcer and Narrator
3(2-2-5)

3104316 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ดิจิทัลเพื่อสังคมชายแดนใต้ *
Digital Broadcasting for Southern Border Provinces
3(2-2-5)

3104420 สัมมนาวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และสื่อดิจิทัล
Seminar in Digital Broadcasting
3(2-2-5)

3104421 การใช้ห้องปฏิบัติการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
Radio and Television Studio Operation
3(2-2-5)

3104422 การสื่อสารด้วยกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์และโครงการสนับสนุน *
Creative Event and Sponsorship Communication
3(2-2-5)

 - วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต

3104105 เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการสื่อสาร
Online Social Network for Communication
3(2-2-5)

3104209 การรู้เท่าทันสื่อในยุคดิจิทัล
Media Literacy in Digital Age
3(2-2-5)

3104210 ฉากและวัสดุประกอบฉากงานวิทยุโทรทัศน์
Scenery and Property for Television Production
3(2-2-5)

3104211 ศิลปะและสุนทรียศาสตร์ในภาพถ่ายดิจิทัล
Arts and Aesthetics in Digital Photography
3(2-2-5)

3104212 การแต่งหน้าและเครื่องแต่งกายสําหรับงานโทรทัศน์
Make-up and Costumes for Television
3(2-2-5)

3104213 การสื่อสารมวลชนในอาเซียน
ASEAN Broadcasting Study
3(3-0-6)
หมายเหตุ * หมายถึง วิชาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของหลักสูตร 

3104317 เทคนิคการสัมภาษณ์และการเขียนบทสัมภาษณ์
Interview Technique and Writing
3(2-2-5)

3104318 การถ่ายทําภาพยนตร์เชิงสารคดี
Documentary Cinematography
3(2-2-5)

3104319 การผลิตสื่อดิจิทัล
Digital Media Design
3(2-2-5)

3104424 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ขั้นสูง
Advanced Television Production
3(2-2-5)

3104425 การผลิตสื่อดิจิทัล สําหรับสื่อพื้นบ้านชายแดนภาคใต้ *
Digital Media Production for Southern Border Provinces
3(2-2-5)

3104426 การสรDางสรรค์และผลิตรายการดิจิทัลเฉพาะกลุ่ม *
Digital Broadcasting for Specific Target Audiences
3(2-2-5)

3104427 การบริหารจัดการและธุรกิจสื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ดิจิทัล
Digital Broadcasting Management and Entrepreneurship
3(2-2-5)

 - วิชาฝึกประสบการณวิชาชีพ/สหกิจศึกษา 8 หน่วยกิต

3100012 ฝsกประสบการณ์วิชาชีพขั้นพื้นฐาน
Professional Practicum
1(90)
ชั่วโมง

3100402 เตรียมฝsกประสบการณ์วิชาชีพในงานนิเทศศาสตร์
Preparation for Field Experience in Communication Arts
2(180)
ชั่วโมง

3100003 ฝsกประสบการณ์วิชาชีพในงานนิเทศศาสตร์
Professional Experience in Communication Arts
5(450)
ชั่วโมง

 หรือ

3100004 เตรียมสหกิจศึกษา
Preparation for Cooperative Education
2(180)
ชั่วโมง

3100005 สหกิจศึกษา
Cooperative Education
6(560)
ชั่วโมง

 3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียนวิชาใดๆ ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยไม่ซ้ํากับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กําหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ"การสําเร็จ
การศึกษาของหลักสูตรนี้